ประกาศเผยแพร่แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ 2566

ด้วยโรงพยาบาลมหาสารคาม ได้จัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2566 และได้รับอนุมัติจากนายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดมหาสารคาม เรียบร้อยแล้ว ดังเอกสารทที่แนบมานี้

ขออนุมัติเผยแพร่ประกาศแผนปฏิบัติการ ประจำปี 2566

1.แผนประมาณการรายได้-รายจ่าย(Planfin) 1.ขออนุมัติแผนรายได้-ค่าใช้จ่าย

2.แผนรายรับ-รายจ่าย เงินบำรุง 2.แผนเงินบำรุง ปี 2566

3.แผนปฏิบัติการ หมวดแผนงานโครงการ

4.แผนปฏิบัติการ หมวดงบบุคลากร 4.หมวดงบบุคลากรปี 2566

5.แผนปฏิบัติการ หมวดงบลงทุน 5.อนุมัติแผนปฏิบัติการ หมวดงบลงทุน(เงินบำรุง) ปี2566

6.แผนพัฒนาบุคลากร 6.แผนพัฒนาบุคลากรปี 2566

7.แผนปฏิบัติการ ศูนย์แพทยศาสตร์ศึกษาและแหล่งฝึก 7.แผนศูนย์แพทย์ ปี 2566

8.แผนปฏิบัติการ หมวดงบดำเนินงาน รายการค่าใช้สอย 8.ขออนุมัติแผน หมวดค่าใช้สอยปี 2566

9. แผนการจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา

10. แผนการจัดซื้อวัสดุการแพทย์ 10.แผนวัสดุการแพทย์

11. แผนการจัดซื้อวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ 11.ขออนุมัติวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ ปี 2566

12. แผนการจัดซื้อวัสดุทันตกรรม

13. แผนการจัดซื้อวัสดุอื่น (สำนักงาน) 13.ขออนุมัติแผนจัดซื้อวัสดุอื่น

 

หนังสือเวียน-เรื่อง-การดำเนินการตามหลักเกณฑ์-วิธีการ-และเงื่อนไขการประเมินบุคคล.

หนังสือเวียน-เรื่อง-การดำเนินการตามหลักเกณฑ์-วิธีการ-และเงื่อนไขการประเมินบุคคล

หลักเกณฑ์การประเมินบุคคลเพื่อแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการพิเศษมาและเพื่อขอรับเงินประจำตำแหน่งระดับชำนาญการ

1.-หนังสือแจ้งจังหวัด-ว-246-ลว-3-ก.พ.-63

งานผลิตยาสมุนไพร โรงพยาบาลมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม

งานผลิตยาสมุนไพร โรงพยาบาลมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม

ผู้จัดทำ : นางสาวปภาวรินท์ จินโจ
ตรวจสอบ : นายปรานญ์ปรินทร์ กิจจาเวชชานนท์

(ข้อมูลแม่บทสถานที่ผลิตยา)
1.ข้อมูลทั่วไป
1.1 ข้อมูลสรุปของงานผลิตยาสมุนไพรโรงพยาบาลมหาสารคามจังหวัดมหาสารคาม และข้อมูลที่
เกี่ยวข้องซึ่งทำให้มีความเข้าใจถึงกระบวนการผลิต
สถาบันการแพทย์แผนไทยโดยแพทย์หญิงเพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ ขณะนั้นดำรงตำแหน่งเป็น
ผู้อำนวยการสถาบันการแพทย์แผนไทยได้กรุณาให้งบประมาณแก่โรงพยาบาลมหาสารคาม มาดำเนินงาน
จัดตั้งศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแพทย์แผนไทย เป็นเงิน 500,000 บาท และตั้งชื่อให้ว่า “ศูนย์ส่งเสริมสุขภาพแพทย์
แผนไทยกามินทร์อาศรม”

เปิดดำเนินงานเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2545 โดยการนำของผอ.ชาย ธีระสุต ภายใต้การดูแลของกลุ่ม
งานเวชกรรมสังคม เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2545 ได้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างงานทั้งหมดในโรงพยาบาล
มหาสารคาม งานแพทย์แผนไทยจึงได้พัฒนาและเปลี่ยนแปลงเป็นกลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือกให้สอดคล้องกับกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ซึ่งนพ.ไพบูลย์ อัศวธนบดี
หัวหน้ากลุ่มภารกิจปฐมภูมิและทุติยภูมิเป็นผู้ดูแลและมุ่งมั่นพัฒนางานนี้เรื่อยมา เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2556 ได้
เกิดงานเภสัชกรรมไทยขึ้นเป็นรูปธรรมชัดเจน โดยมีเป้าหมายการผลิตยาใช้ในโรงพยาบาลและเครือข่าย
ตลอดจนโรงพยาบาลชุมชนในจังหวัดมหาสารคาม การดำเนินงานในระยะแรกเพื่อตอบสนองนโยบายคล้อย
ตามกระแสเท่านั้น แต่เมื่อได้ดำเนินการระยะหนึ่ง พบว่า การแพทย์แผนไทยเป็นวัฒนธรรมในการดูแลสุขภาพ
แขนงหนึ่งที่ทรงคุณค่า และมากด้วยกลวิธีที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตของคนไทยและสามารถใช้ศาสตร์นี้ตอบ
คำถามยอดฮิตของค าว่า “องค์รวม” ได้ดีที่สุด

โรงพยาบาลมหาสารคามมีจำนวนการผลิตยาสมุนไพรเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งผู้อำนวยการ
โรงพยาบาลมีแนวคิดที่จะพัฒนาและให้ความสำคัญในการผลิตยาสมุนไพร โดยมุ่งส่งเสริมและพัฒนานโยบาย
คุณภาพให้โรงงานผลิตยาสมุนไพรของโรงพยาบาลได้มาตรฐาน GMP WHO เพื่อเป็นโรงงานผลิตยาสมุนไพรที่
ได้คุณภาพ มาตรฐาน และมีกำลังการผลิตที่สามารถตอบโจทย์ด้านปริมาณและรายการยาสมุนไพรที่สามารถ
ตอบสนองความต้องการของหน่วยบริการสุขภาพภายในจังหวัดมหาสารคามได้อย่างเพียงพอ และในอนาคต
โรงพยาบาลวางแผนที่จะพัฒนาเพิ่มกำลังการผลิตยาสมุนไพรเพื่อสนับสนุนไปยังจังหวัดอื่นๆใกล้เคียงมุ่งเป็น
หนึ่งกำลังการผลิตที่สำคัญในศูนย์ผลิตยาสมุนไพรของเขตบริการสุขภาพที่ 7

 

สารบัญ-smp-จัมปาศรี
Site-master-file-จัมปาศรี
ภาคผนวก-site-master-file-จัมปาศรี

การประเมินผลระบบการป้องกันอาการข้างเคียงจากยา Allopurinol ในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

อดิศักดิ์ ถมอุดทา ภ.บ.
ปริญา ถมอุดทา ภ.บ. (บริบาลเภสัชกรรม) (เกียรตินิยมอันดับ 1), ภ.ม. (เภสัชกรรมคลินิก)
กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม

767-Article-Text-760-1-10-20171130_allopurinol

เถาเอ็นอ่อนสมุนไพรสู่การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม

เถาเอ็นอ่อนสมุนไพรสู่การรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม

อดิศักดิ์ ถมอุดทา / ปริญา ถมอุดทา
โรงพยาบาลมหาสารคาม ต าบลตลาด อ าเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม 44000

 

เถาเอ็นอ่อน (Cryptolepis buchanani Roem. & Schult) มีลักษณะเป็นไม้เลื้อยถูกนำมาใช้อย่าง
แพร่หลายในการแพทย์พื้นบ้านในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงไต้ เพื่อรักษาอาการอักเสบของโรคระบบ
กระดูกและกล้ามเนื้อ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อชี้ให้เห็นถึงข้อมูลวิชาการในประเด็นการพัฒนา
สมุนไพรเถาเอ็นอ่อนแบบครบวงจร โดยทำการสืบค้นจากฐานข้อมูลวิชาการในหัวข้อ พฤกษศาสตร์
พื้นบ้าน พฤกษเคมี การศึกษาทางด้านพรีคลินิกและการทดลองทางคลินิก ผลการศึกษาด้านพรีคลินิก
พบว่าสารสกัดเถาเอ็นอ่อนสามารถลดการบิดตัวโดยใช้กรดอเซติกเหนี่ยวนำในหนูทดลองอย่างมีนัยสำคัญ
ทางสถิติ นอกจากนั้นยังสามารถยับยั้งการอักเสบในโมเดลการใช้สารเอทิล ฟีนิลโพรพิโอเนตเหนี่ยวนำการ
เกิดหูอักเสบและการใช้สารคาราจีแนนเหนี่ยวนำการเกิดอุ้งเท้าอักเสบในหนูทดลอง การศึกษาการ
เพาะเลี้ยงเซลล์กระดูกอ่อนในอาหารเลี้ยงเชื้อพบว่าสารสกัดเถาเอ็นอ่อนสามารถลดการปลดปล่อยสาร
ซัลเฟตไกลโคซามิโนไกลแคนและไฮยาโรแนนในอาหารเลี้ยงเชื้อและมีความสามารถในการยับยั้งเอนไซม์
เมทัลโลโปรติเอส-2 โดยไม่มีผลกระทบต่อการอยู่รอดของเซลล์เพาะเลี้ยงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษาทางคลินิกจากยาน้ำมันเถาเอ็นอ่อนในการรักษาข้อเข่าเสื่อมเป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ ในผู้ป่วยที่
มีภาวะโรคในระดับรุนแรงน้อยถึงปานกลาง พบว่ามีประสิทธิภาพไม่แตกต่างจาก 1 เปอร์เซ็นต์ อินโดเมทา
ซิน สรุปได้ว่าสารสกัดเถาเอ็นอ่อนมีฤทธิ์ลดปวด ต้านการอักเสบและคอนโดรโพรเทคทีฟ ยาน้ำมันเถา
เอ็นอ่อนมีประสิทธิภาพไม่แตกต่างอินโดเมทาซิน โซลูชั่น ในการรักษาข้อเข่าเสื่อม

Public_ThaoenOn30_01_64